ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Ubuntu Config server (ตอนที่ 4 )การติดตั้ง DHCP Server


การติดตั้ง DHCP Server
DHCP ย่อมาจาก Dynamic Host configuration Protocol
มันเป็นการกำหนด IP Address อัตโนมัติให้แก่เครื่องไคลเอนต์ในระบบที่ติดตั้ง โปรโตคอล TCP/IP เป็นการลดความซ้ำซ้อนของระบบ
เพราะเราจะทำ DHCP Server เป็นตัวแจก Ip ที่ไม่เหมือนกันเลยให้แก่เครื่องลูก ข่าย ตัว DHCP Server จะมีสโคปในการจ่าย ip ซึ่ง Admin
จะต้องกำหนดขึ้นมาเองก็แล้วแต่ว่าจะใช้ Class ของ IP เป็นอะไรก็ขึ้นอยู่กับ Admin ในที่นี้ผมใช้หมายเลย เป็น 192.168.1.1-192.168.1.220  ใน Class นี้มีขอบเขต
อยู่ที่ 210 เครื่อง

รู้กันแล้วก็ลุยกันเลยครับ ขั้นตอนแรกเราต้องติดตั้ง  DHCP กันก่อน


 ติดตั้ง DHCP Server
#apt-get install dhcp3-server
หมายเหตุ หลังจากติดตั้ง dhcp จะเริ่มทำงานไม่สำเร็จ (fail)
สำรอง /etc/dhcp3/dhcpd.conf
#cp /etc/dhcp3/dhcpd.conf /etc/dhcp3/dhcpd.conf_bak
แก้ไบ เพิ่มเติมที่ท้ายแฟ้ม /etc/dhcp3/dhcpd.conf
---
# ct-network
subnet 192.168.50.0 netmask 255.255.255.0 {
  range 192.168.50.50 192.168.50.254;
  option domain-name-servers 192.168.1.1;
  option domain-name "ct.utc.ac.th";
  option routers 192.168.50.1;
  option broadcast-address 192.168.50.255;
  default-lease-time 6000;
  max-lease-time 72000;
}
---
แก้ไข /etc/default/dhcp3-server เพื่อระบุ interface ที่คอยให้บริการ ค่าของโปรโตคอล TCP/IP (วง LAN)
---
INTERFACES="ethx"
---
หมายเหตู  ethx คือ eth ที่ต่อกับวง LAN
สั่งให้ DHCP Service ทำงาน
#/etc/init.d/dhcp3-server start

ความคิดเห็น

  1. ไม่ระบุชื่อ12 มีนาคม 2557 เวลา 01:38

    ขอถามว่านี่คือแจก 192.168.50.xxx หรือ 192.168.1.xxx ตอนแรกเห็นบอกจะแจก 192.168.1.1-192.168.1.220 แต่ค่าในคอนฟิกไฟล์ range 192.168.50.50 192.168.50.254 แบบนี้คือแจก 192.168.50.50 - 192.168.50.254 ใช่ไหมครับ? แล้วถ้าผมต้องการแจก 192.168.50.1-192.168.53.254 subnet 255.255.252.0 จะแจกได้ไหมครับ ต้องการเครื่องจำนวนมากอยู่ในวงแลนเดียวกัน

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ได้ครับ คือตอนผมทดลองแจกชุด 192.168.50.50 - 192.168.50.254 นี้เพราะ ที่ทำงานมีหลายวงก็เลยเริ่มที่ 50 ครับ สรุปว่าได้ ลองเลยครับได้ผลไง บอกด้วยน๊ะครับ จะได้ปรับปรุงกันต่อไป

      ลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

วิธีทำเสาขยายสัญญาณ WiFi แบบรอบทิศทาง Omni Antenna ตอนที่ 1

Easy Homemade 2.4 Ghz Omni Antenna ขั้นตอนง่ายๆ ที่จะสร้างเสา  wireless  หรือเสา  omni  ในราคาไม่แพง  ดังที่เห็นมีขายกันทั่วไปใน ท้องตลาด  ใช้ประโยชนย์ จากวัสดุและเครื่องมือที่หาได้ทั่วไปกับความรู้ที่ไม่มากนัก    พูดภาษาที่ยาก อีกหน่อยก็ คือ ทําเสา  omni directional colinear dipole ที่เหมาะสําหรับ wifi 802.11 แบบที่พบเห็ นมากมายในเว็บ สําหรับสาย  2.4 GHz omni antenna  จะเป็นการใช้สายทองเหลือง และสายชนิด  lmr-400  ซึ่งเราจะไม้นํามาใช้กับบทความนี้ นะครับ ที่จะใช้คือสาย  coax  โดยจะใช้ ชนิด RG-213 โดยสัดส่วนของความถี่  444MHz จะใช้ได้กั บ 2.4 GHz และเพื่อที่จะให้เพิ่มถึง  6 dB จึงต้องใช้ทั้งหมด 8 ท้อน และส่วนปลายด้านบนมีความยาวเท่ากับ 1/4 ของความยาวคลื่น ต่อด้วย หัว fly-lead  และ N-connector  ที่ปลายด่านล่าง  คนที่เคยทํามาแล้วใช้ เวลาประมาณ  2-3  ชั่วโมง ในการทํานะครับ อาจจะนานกว่านั้นในการทําครั้งแรกนะครับ ติดตามต่อ  ตอนที่ 2 นะครับ  เป็นขั้นตอนก...

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)   ประวัติความเป็นมา               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN)  ระบบเครือข่ายไร้สาย  (Wireless LANs)  เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ.  1971 บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า  “ALOHNET”  ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional  ส่งไป-กลับง่ายๆ ผ่านคลื่นวิทยุ สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์  7  เครื่อง ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะ  4  เกาะโดยรอบ และ มีศูนย์กลางการเชื่อมต่ออยู่ที่เกาะๆหนึ่ง ที่ชื่อว่า  Oahu ความหมาย               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( WLAN = Wireless Local Area Network)  คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ  RF  และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ ,  ทะลุกำแพง ,  เพดานหร...

การ Config card Lan ใน Server Ubuntu

ให้ใส่รหัสผ่านของเราลงไป ระบบจะให้เราสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root ใหม่ รหัสผ่านของยูสเซอร์ root อีกครั้ง การสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root สำเร็จแล้ว พิมพ์คำสั่ง su กด Enter เพื่อขอใช้งานยูสเซอร์ root ใส่รหัสผ่านของยูสเซอร์ root ถ้าล็อกออนยูสเซอร์ root ตรง noom@server: ก็จะเปลี่ยนเป็น root@server:  พิมพ์คำสั่ง ifconfig เพื่อดูไอพี ของเครื่องเราแล้วดูบรรทัดที่สองตรง inet addr: ตามรูปไอพีคือ 192.168.1.42 ได้มาจากเครื่อง dhcp การเซตไอพีเองให้เป็น static IP พิมพ์คำสั่ง vi /etc/network/interfaces กด Enter กดคีย์อักษร  เพื่อเข้าสู่โหมดพิมพ์ข้อความ > เปลี่ยนจาก iface eth0 inet dhcp เป็น iface eth0 inet static แล้วพิมพ์คำสั่งเพิ่ม ตามรูปเลย แล้วทำการบันทึกด้วยการกด <Esc> แล้วตามด้วย <:><w><q> กด Enter จากนั้นรีสตาร์ตเซอร์วิสด้วยคำสั่ง /etc/init.d/networking restart กด Enter แล้วตรวจดูว่า IP Address เปลี่ยนแปลงหรือยัง ด้วยคำสั่ง ifconfig ก็จะได้ไอพีตามที่เราเซตก็คือ 192.168.1.20 เสร็จการติดตั้ง Ubuntu Linux Server