ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การติดตั้ง Ubuntu Server

Download ได้ที่ http://www.ubuntu.com/download/server




มาเริ่มกันเลยครับ ขั้นตอนที่ 1
เลือกภาษา English

แสดงโลโก้ Ubuntu 

เลือกภาษา English

เลือก United States

เป็นการเลือกตรวจสอบคีย์บอร์ด (Keyboard Layout) ให้ตอบ <No>

เลือกรูปแบบ USA


ใส่ชื่อ Host (ชื่อเครื่องเซฟเวอร์) ตามต้องการเพื่อใช้อ้างอิงกับ DNS ต่อไป

ตรวจสอบเวลา

จัดการ Partition Disk ให้เลือก Manual

เลือก ฮาร์ดดิสก์

เลือก <Yes>

เลือก pri/log 21.5 GB FREE SPACE เพื่อสร้างบูตพาร์ทิชั่น กด Enter

เลือก Create new partition

ให้ใส่ขนาดของบูตพาร์ทิชั่นลงไปคือ 128 MB. กด Enter

เลือก Primary

เลือก Begining

เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ Mount point:    /home กด Enter

เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ /boot - static files of the boot loader กด Enter

สังเกตตรง Mount point: จะต้องเป็น /boot
เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ Done setting up the partition กด Enter

ก็จะได้ บูตพาร์ทิชั่นดังรูป
เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ pri/log 21.3 GB FREE SPACE เพื่อสร้าง swap กด Enter

เลือก Create new partition

ให้ใส่ขนาดของสวอป(swap)ลงไปคือ 1024 MB. กด Enter (มีขนาด สองเท่าของแรม)

เลือก Primary

เลือก Begining

เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ Use as: Ext4 journaling file system กด Enter

เลือก swap area กด Enter

ก็จะได้ สวอปพาร์ทิชั่นดังรูป 

เลือก pri/log 20.3 GB FREE SPACE เพื่อสร้าง root directory กด Enter

เลือก Create new partition

ใส่ขนาด root directory สัก10 GB กด Enter

เลือก Primary

เลือก Begining

เลือก Mount point: เป็น / 

เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ Done setting up the partition กด Enter

ก็จะได้ root directory ดังรูป
เลือก pri/log 10.3 GB FREE SPACE เพื่อสร้าง home กด Enter

เลือก Create new partition

ใส่ขนาด home directory 10.3 GB กด Enter

Mount point: ต้องเป็น /home

เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ Done setting up the partition กด Enter

ก็จะได้ home directory ดังรูป

เลื่อนไฮไลต์บาร์มาที่ Finish partitioning and write changes to disk กด Enter

เลื่อก <Yes>

ระบบกำลังฟอร์แมตดิสก์ และติดตั้ง base system

สร้างยูสเซอร์แอคเคาน์ที่จะใช้แทนยูสเซอร์ root

ใส่ชื่อที่จะใช้ในการล็อกออน

ใส่รหัสผ่านที่จะใช้ในการล็อกออน

ยืนยันรหัสผ่านที่จะใช้ในการล็อกออน อีกครั้ง

เลื่อก <Yes>

เลือก <Yes>

ข้อมูล http Proxy ให้ปล่อยว่างใว้

การคอนฟิกส์ apt(Advanced Package Tool) 

เลือก No automatic updates

เลือก Software Selection ตามการใช้งานขอเรา ในที่นี้จะเลือกเพียง DNS Server, Print Server, Samba File Server
ก็พอ จะติดตั้งเองด้วยคำสั่ง apt ในลำดับต่อไปภายหลัง



เลือก <Yes>

Installation complete การติดตั้งเสร็จสมบูรณ์แล้ว เอาแผ่น CD ออกแล้วกด Enter เพื่อรีบูต


รีบูตเสร็จแล้วก็จะสู่หน้าล็อกออน

เสร็จสินการติดตั้ง



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)   ประวัติความเป็นมา               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN)  ระบบเครือข่ายไร้สาย  (Wireless LANs)  เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ.  1971 บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า  “ALOHNET”  ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional  ส่งไป-กลับง่ายๆ ผ่านคลื่นวิทยุ สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์  7  เครื่อง ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะ  4  เกาะโดยรอบ และ มีศูนย์กลางการเชื่อมต่ออยู่ที่เกาะๆหนึ่ง ที่ชื่อว่า  Oahu ความหมาย               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( WLAN = Wireless Local Area Network)  คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ  RF  และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ ,  ทะลุกำแพง ,  เพดานหร...

Linux Fedora Core 8 (VMware)

การทดลองครั้งที่ 1 การติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการลงบน VMWare พื้นฐาน โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่จำลองสภาพแวดล้อมของ เครื่องคอมพิวเตอร์  บนระบบปฏิบัติการหนึ่งๆ ซึ่งจะทำให้ดูเสมือนมี เครื่องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่อง ทำงานอยู่พร้อมกัน สภาพแวดล้อมที่ใช้ในการทดลอง โปรแกรม VMWare ที่ใช้ในการทดลองจะเป็นรุ่น VMServer 1.05 โดยการทดลองจะทำการติดตั้งระบบปฏิบัติการต่างๆดังต่อไปนี้                 1 Linux Fedora Core 8 (Machine 1)                 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Linux Fedora Core 8 1 ทำการ ดับเบิ้ลคลิกที่ ไอคอนของ VMWare Server Console จากนั้นทำการเลือก Local Host  ดังรูปที่ 1.1 รูปที่ 1.1 หน้าจอการเลือกการใช้งาน VMware บนเครื่อง 2 ในกรณีที่เป็นการติดตั้งใหม่ให้ เลือกไอคอน New Virtual Machine  (ส่วนในกรณีที่มีการติดตั้งอยู่ก่อนแล้ว เลือกไอคอน Open Existing Virtual Machine ) หลังจากนั้นจะปรากฏ New ...

การ Config card Lan ใน Server Ubuntu

ให้ใส่รหัสผ่านของเราลงไป ระบบจะให้เราสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root ใหม่ รหัสผ่านของยูสเซอร์ root อีกครั้ง การสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root สำเร็จแล้ว พิมพ์คำสั่ง su กด Enter เพื่อขอใช้งานยูสเซอร์ root ใส่รหัสผ่านของยูสเซอร์ root ถ้าล็อกออนยูสเซอร์ root ตรง noom@server: ก็จะเปลี่ยนเป็น root@server:  พิมพ์คำสั่ง ifconfig เพื่อดูไอพี ของเครื่องเราแล้วดูบรรทัดที่สองตรง inet addr: ตามรูปไอพีคือ 192.168.1.42 ได้มาจากเครื่อง dhcp การเซตไอพีเองให้เป็น static IP พิมพ์คำสั่ง vi /etc/network/interfaces กด Enter กดคีย์อักษร  เพื่อเข้าสู่โหมดพิมพ์ข้อความ > เปลี่ยนจาก iface eth0 inet dhcp เป็น iface eth0 inet static แล้วพิมพ์คำสั่งเพิ่ม ตามรูปเลย แล้วทำการบันทึกด้วยการกด <Esc> แล้วตามด้วย <:><w><q> กด Enter จากนั้นรีสตาร์ตเซอร์วิสด้วยคำสั่ง /etc/init.d/networking restart กด Enter แล้วตรวจดูว่า IP Address เปลี่ยนแปลงหรือยัง ด้วยคำสั่ง ifconfig ก็จะได้ไอพีตามที่เราเซตก็คือ 192.168.1.20 เสร็จการติดตั้ง Ubuntu Linux Server