ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Ubuntu Config server ตอนที่ 1 (ขอมุลต่อไปนี้ผู้เขียนTest แล้วใช้งานได้จริงครับ)



ก่อนอื่น น๊ะครับ การที่เรากำหนด Gateway Server ขึ้นมาก็เพราะต้องการให้ การเข้าออกอินเตอร์เน็ตของระบบเครือข่ายของเรานั้นมีทิศทางไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึง สามารเก็บข้อมูลการเข้าใช้อินเตอร์เน็ตของเครื่องลูกข่ายของเราได้ด้วย ประเด็นของ Ubuntu Server ก็คือการกำหนด Proxy and Squid.conf
เราจะมาว่ากันในบทความนีคับ มาว่ากันต่อเลย
หลังจากที่ ติดตั้ง ตัวระบบปฎิบัติการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ทำการ  config system เพื่อให้สามารถเล่นเน็ตได้ ดังนี้คับ


ขั้นตอนการ Config server ตามนี้เลยคับ


-  การตั้งค่า NICs (Lan cards)
- Secue Shell = openssh
- Proxy / Cache Server / Gateway = squid
- DHCP Server = dhcp3-server
- Web Server + PHP Application Server = apache2 mod-php5
- FTP Server = vsftp
- Enable Home directory web site = ~homedirectory(public_html)
- Mysql Database Server
- phpMyAdmin

ขั้นตอนแรก ต้องทำการ Enable ผู้ใช้งาน root  กันก่อนน๊ะครับ

- เปลี่ยนรหัสผ่าน โดยใช้คำสั่ง
$sudo passwd root
ใส่รหัสผ่านใหม่

เพื่อให้สามารถเข้าใช้งาน root ได้
หลังจากนั้นก็ทำการทดสอบการ login



การทดสอบ
$logout
ขึ้นหน้าจอ login
เข้าใช้งานโดยใช้ที่หน้าจอ login : root




ขั้นตอนการติดตั้ง
1.  การตั้งค่า NICs (Lan cards)
ตรวจสอบชื่อเรียก NICs
#ifconfig -a | grep eth
ระบบจะแสดงหมายชื่อมีหมายเลขกำกับ เช่น
eth0
eth1
กำหนดให้ eth0(หมายเลขที่ต่ำกว่า) ต่อกับ WAN และeth1(หมายเลขที่สูงกว่า) ต่อกับ LAN โดยการแก้ไขแฟ้ม /etc/network/interface
#nano /etc/network/interface
---
auto eth0    ------->  WAN
iface eth0 inet dhcp
auto eth1    ------->  LAN
iface eth1 inet static
address 192.168.50.1
netmask 255.255.255.0
network 192.168.50.0
broadcast 192.168.50.255
gateway 192.168.14.1
---



หมายเลข IP ในที่นี้ผมตั้งตามความต้องการของผมเองไงก็ แล้วแต่ระบบของแต่ละท่านน๊ะครับ
ติดตามต่อในตอนที่ 2 น๊ะครับ


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

วิธีทำเสาขยายสัญญาณ WiFi แบบรอบทิศทาง Omni Antenna ตอนที่ 1

Easy Homemade 2.4 Ghz Omni Antenna ขั้นตอนง่ายๆ ที่จะสร้างเสา  wireless  หรือเสา  omni  ในราคาไม่แพง  ดังที่เห็นมีขายกันทั่วไปใน ท้องตลาด  ใช้ประโยชนย์ จากวัสดุและเครื่องมือที่หาได้ทั่วไปกับความรู้ที่ไม่มากนัก    พูดภาษาที่ยาก อีกหน่อยก็ คือ ทําเสา  omni directional colinear dipole ที่เหมาะสําหรับ wifi 802.11 แบบที่พบเห็ นมากมายในเว็บ สําหรับสาย  2.4 GHz omni antenna  จะเป็นการใช้สายทองเหลือง และสายชนิด  lmr-400  ซึ่งเราจะไม้นํามาใช้กับบทความนี้ นะครับ ที่จะใช้คือสาย  coax  โดยจะใช้ ชนิด RG-213 โดยสัดส่วนของความถี่  444MHz จะใช้ได้กั บ 2.4 GHz และเพื่อที่จะให้เพิ่มถึง  6 dB จึงต้องใช้ทั้งหมด 8 ท้อน และส่วนปลายด้านบนมีความยาวเท่ากับ 1/4 ของความยาวคลื่น ต่อด้วย หัว fly-lead  และ N-connector  ที่ปลายด่านล่าง  คนที่เคยทํามาแล้วใช้ เวลาประมาณ  2-3  ชั่วโมง ในการทํานะครับ อาจจะนานกว่านั้นในการทําครั้งแรกนะครับ ติดตามต่อ  ตอนที่ 2 นะครับ  เป็นขั้นตอนก...

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)   ประวัติความเป็นมา               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN)  ระบบเครือข่ายไร้สาย  (Wireless LANs)  เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ.  1971 บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า  “ALOHNET”  ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional  ส่งไป-กลับง่ายๆ ผ่านคลื่นวิทยุ สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์  7  เครื่อง ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะ  4  เกาะโดยรอบ และ มีศูนย์กลางการเชื่อมต่ออยู่ที่เกาะๆหนึ่ง ที่ชื่อว่า  Oahu ความหมาย               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( WLAN = Wireless Local Area Network)  คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ  RF  และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ ,  ทะลุกำแพง ,  เพดานหร...

การ Config card Lan ใน Server Ubuntu

ให้ใส่รหัสผ่านของเราลงไป ระบบจะให้เราสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root ใหม่ รหัสผ่านของยูสเซอร์ root อีกครั้ง การสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root สำเร็จแล้ว พิมพ์คำสั่ง su กด Enter เพื่อขอใช้งานยูสเซอร์ root ใส่รหัสผ่านของยูสเซอร์ root ถ้าล็อกออนยูสเซอร์ root ตรง noom@server: ก็จะเปลี่ยนเป็น root@server:  พิมพ์คำสั่ง ifconfig เพื่อดูไอพี ของเครื่องเราแล้วดูบรรทัดที่สองตรง inet addr: ตามรูปไอพีคือ 192.168.1.42 ได้มาจากเครื่อง dhcp การเซตไอพีเองให้เป็น static IP พิมพ์คำสั่ง vi /etc/network/interfaces กด Enter กดคีย์อักษร  เพื่อเข้าสู่โหมดพิมพ์ข้อความ > เปลี่ยนจาก iface eth0 inet dhcp เป็น iface eth0 inet static แล้วพิมพ์คำสั่งเพิ่ม ตามรูปเลย แล้วทำการบันทึกด้วยการกด <Esc> แล้วตามด้วย <:><w><q> กด Enter จากนั้นรีสตาร์ตเซอร์วิสด้วยคำสั่ง /etc/init.d/networking restart กด Enter แล้วตรวจดูว่า IP Address เปลี่ยนแปลงหรือยัง ด้วยคำสั่ง ifconfig ก็จะได้ไอพีตามที่เราเซตก็คือ 192.168.1.20 เสร็จการติดตั้ง Ubuntu Linux Server