การทดลองครั้งที่
1
การติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการลงบน
VMWare
พื้นฐาน
โปรแกรม VMWare
เป็นโปรแกรมที่จำลองสภาพแวดล้อมของ เครื่องคอมพิวเตอร์ บนระบบปฏิบัติการหนึ่งๆ ซึ่งจะทำให้ดูเสมือนมี
เครื่องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่อง ทำงานอยู่พร้อมกัน
สภาพแวดล้อมที่ใช้ในการทดลอง
โปรแกรม VMWare
ที่ใช้ในการทดลองจะเป็นรุ่น VMServer 1.05
โดยการทดลองจะทำการติดตั้งระบบปฏิบัติการต่างๆดังต่อไปนี้
1
Linux Fedora Core 8 (Machine 1)
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Linux Fedora
Core 8
1 ทำการ ดับเบิ้ลคลิกที่ ไอคอนของ
VMWare Server Console จากนั้นทำการเลือก Local Host ดังรูปที่ 1.1
2 ในกรณีที่เป็นการติดตั้งใหม่ให้
เลือกไอคอน New Virtual Machine (ส่วนในกรณีที่มีการติดตั้งอยู่ก่อนแล้ว เลือกไอคอนOpen Existing
Virtual Machine) หลังจากนั้นจะปรากฏ New Virtual Machine
Wizard ดังรูปที่ 1.2
รูปที่
1.2 หน้าจอแสดงทางเลือกการทำงานของ VMWare
3 โปรแกรม VMWare จะแสดงหน้าจอการเริ่มต้นติดตั้ง
Virtual Machine ดังรูปที่ 1.3
รูปที่
1.3
หน้าจอการเข้าสู่การติดตั้ง New Virtual Machine
4 จากนั้นทำการเลือกการกำหนดค่าแบบ
Typical ซึ่งเป็นรูปแบบการทำงานแบบทั่วไป
ในกรณีที่ต้องการกำหนดค่าตามความต้องการให้ใช้ทางเลือกที่เป็นแบบ Custom ดังรูปที่ 1.4
รูปที่
1.4
หน้าจอทางเลือกการกำหนดค่าบน VMWare
5 ทำการเลือก
ระบบปฏิบัติการที่ต้องการจะติดตั้งในกรณีคือ Linux แต่เนื่องจากว่าทางเลือกของ VMWare
ที่เตรียมไว้ไม่มี Fedora จึงทำการเลือกเป็น Other Linux ดังรูปทื่ 1.5
รูปที่
1.5
หน้าจอทางเลือกการติดตั้งระบบปฏิบัติการบน VMWare
(ในกรณีที่เลือกเป็น Linux Fedora Core 8)
รูปที่
1.6
หน้าจอการกำหนดชื่อ Virtual Machine และที่อยู่ของข้อมูล
Virtual Machine
7 ทำการเลือกการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
ดังรูปที่ 1.7
-
การเลือกแบบ Bridged
Networking จะหมายถึงการที่ Virtual Machine แต่ละเครื่องเสมือนมี
การเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายปกติ โดยมี IP Address ที่สามารถได้รับจากภายนอกโดยตรง)
-
การเลือกแบบ NAT
จะหมายถึงการที่ Virtual Machine จะสื่อสารภายนอกโดยผ่านการทำ
Network Address Translation ซึ่งจะใช้หมายเลข IP
Address ของ ระบบที่ทำงานอยู่ในการทำ NAT
-
การเลือกแบบ Host
Only จะหมายถึง Host และ Virtual Machine จะเสมือนเชื่อมต่อกันบน
Virtual Switch ซึ่งจะมีการแจกหมายเลข IP Address ที่เป็น Private IP ให้กับเครื่อง Virtual Machine ทุกเครื่องผ่านการทำงานของ
DHCP
รูปที่
1.7 หน้าจอการเลือกวิธีการเชื่อมต่อบน
VMWare
8 ทำการกำหนดขนาดของข้อมูล VMware
ดังรูปที่ 1.8 หลังจากนั้นระบบจะทำการจัดเตรียมพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล
Virtual Machine
รูปที่
1.8
หน้าจอการกำหนดขนาดพื้นที่ของข้อมูล Virtual Machine
9 ทำการกำหนดค่าการติดตั้ง โปรแกรม
Linux โดยดับเบิ้ลคลิ๊กที่ CDROM
Drive ทำการเลือก ดังรูปที่ 1.9
·
ในกรณีของ ห้อง LAB
ตำแหน่งระบุที่อยู่อาจไม่ตรงกับรูป
ให้นักศึกษาลองทำการค้นหาจากไดรฟ์ D:
รูปที่
1.10
หน้าจอทั่วไปเพื่อรอรับคำสั่งการทำงานของ Virtual Machine
รูปที่
1.11 หน้าจอทางเลือกการติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
Fedora Core 8
รูปที่
1.12 หน้าจอทางเลือกการตรวจสอบ Media
ในการติดตั้ง
รูปที่
1.13
หน้าจอทางเลือกภาษาที่จะใช้งานบนระบบปฏิบัติการ
รูปที่
1.14
หน้าจอทางเลือกลักษณะแป้นพิมพ์ที่จะใช้งานบนระบบปฏิบัติการ
15 ทำการกำหนดค่าเริ่มต้นของ Disk
บนระบบปฏิบัติการ โดยเลือกเป็นการกำหนดค่าใหม่ ซึ่งแสดงดังรูปที่ 1.15
รูปที่
1.15
หน้าจอการเตือนสำหรับการแบ่งพื้นที่ของ Disk
รูปที่
1.16
หน้าจอแสดงทางเลือกที่ใช้สำหรับการจัดแบ่ง Disk
17 ทำการกำหนดโครงสร้างของ Disk โดยมีรายละเอียดดังนี้
·
พื้นที่ Disk
สำหรับการทำ หwap 256 MB
·
พื้นที่ สำหรับ root ที่เหลือจากการแบ่ง Swap แล้ว
·
นักศึกษาสามารถแบ่งพื้นที่เพิ่มเติมได้ตามรูปแบบการใช้งาน
เช่น /user /home เป็นต้น
17.1 เลือกสร้างพื้นที่ของ
swap โดยทำการเลือกปุ่ม New ดังรูปที่ 1.17
17.2 เลือก
File System เป็น swap และกำหนดค่าต่างๆดังรูปที่ 1.18
17.3 เลือกสร้างพื้นที่ของ
root โดยทำการเลือกปุ่ม New ดังรูปที่ 1.19
17.4 เลือก
File System เป็น ext3 และกำหนดค่าต่างๆดังรูปที่ 1.20 เมื่อเสร็จสิ้นการแบ่งพื้นที่แล้วจะแสดงหน้าจอดังรูปที่
1.21
รูปที่
1.18 หน้าจอการกำหนดพื้นที่ของ
swap
รูปที่
1.19 หน้าจอหลังจากที่มีการสร้าง
พื้นที่ swap
รูปที่
1.20 หน้าจอการกำหนดพื้นที่ของ
root
รูปที่
1.21
หน้าจอหลังจากเสร็จสิ้นการแบ่งพื้นที่แล้ว
18 ทำการเลือก Yes เพื่อทำงานต่อไปดังรูปที่ 1.22
รูปที่
1.22
หน้าจอแสดงการข้อความในกรณีที่หน่วยความจำมีน้อย
19 ทำการเลือกวิธีการเริ่มต้นทำงานโดยใช้
Grub Boot Loader ดังรูปที่ 1.23
รูปที่
1.23
หน้าจอการกำหนดค่าทางเลือกการเริ่มต้นการทำงานโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
20 ทำการเลือกปุ่ม OK เพื่อทำงานต่อ โดยที่เว้นว่างส่วนการส่ง
Option ไปยัง Kernel
รูปที่
1.24 หน้าจอการกำหนดค่าการส่ง Option ไปยัง
Kernel ในตอนเริ่มต้นการทำงาน
21 ไม่ต้องกำหนดค่า Password ของ Grub
ดังรูปที่ 1.25
รูปที่
1.25
หน้าจอการกำหนดค่า Grub Password
22 เนื่องจากว่า Grub Boot Loader
อนุญาตให้สามารถ Boot จากหลายiระบบปฏิบัติการได้
จึงต้องกำหนดระบบปฏิบัติการที่ต้องการจะ Boot แต่ในกรณีการทดลองนี้มีระบบปฏิบัติการเดียว
จึงกำนดค่าดังรูปที่ 1.26 และ 1.27
รูปที่
1.26
หน้าจอแสดงระบบปฏิบัติการที่อยู่บน Disk
รูปที่
1.27 หน้าจอแสดงตำแหน่งการ Boot
ของระบบปฏิบัติการ
23 การกำหนดค่าของ Network
Interface Card (NIC) บนระบบ ดังรูปที่ 1.28
โดยมีรายละเอียดดังนี้
·
ทำการใช้งานในรูปแบบ IPv4
แสดงดังรูปที่ 1.29
·
ทำการเลือกใช้งานเป็น DHCP
แสดงดังรูปที่ 1.30/1.31
รูปที่ 1.28
หน้าจอแสดงการกำหนดค่าของ NIC (Ethernet)
รูปที่
1.29 หน้าจอการกำหนดค่าการสนับสนุน โปรโตคอล
IPv4 และ IPv6
รูปที่
1.30
หน้าจอการกำหนดค่าของหมายเลข IP Address และ อื่นๆ
รูปที่
1.31 หน้าจอกำหนดค่าการร้องขอจาก
DHCP บนระบบเครือข่าย
24 กำหนดค่าระบบเบื้องต้น ดังนี้ คือ Time
Zone : Asia/Bangkok ดังรูปที่ 1.32 และ Root Password ดังรูปที่
1.33
รูปที่
1.32
หน้าจอกำหนดค่า Time Zone ที่ใช้ในการทดลอง
รูปที่
1.33
หน้าจอการกำหนดค่าของ Root Password
25 กำหนดค่า Package ที่ต้องการจะติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ โดยกำหนดแบบเลือกเองดังต่อไปนี้
1. Administration Tools
2. Development
Tools
3. Editors
4. FTP Server
5. Hardware
Support
6. Legacy
Network Server
7. Legacy
Software Development
8. Network
Servers
9. Server
Configuration Tools
10. System Tools
11. Web Server
รูปที่
1.34
หน้าจอทางเลือกของการกำหนด
Package ที่ต้องการจะติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ
รูปที่
1.35 หน้าจอเสร็จสิ้นกระบวนการติดตั้งระบบปฏิบัติการ
การติดตั้ง Window XP SP 3บน VMWare
1 ขั้นตอนการติดตั้งจะใช้รูปแบบเดียวกันกับ
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Linux Fedora ตั้งแต่ขั้นตอนที่
2
-4 หลังจากนั้นเป็นขั้นตอนของการเลือกระบบปฏิบัติการ ดังรูปที่ 1.36
รูปที่
1.36 หน้าจอการเลือกติดตั้งระบบปฏิบัติการบน VMWare
2 ทำการใส่ชื่อของ Virtual
Machine และกำหนดที่อยู่ของข้อมูล Virtual Machine ดังรูปที่ 1.37
รูปที่
1.37 หน้าจอการกำหนดชื่อ Virtual Machine
และที่อยู่ของข้อมูล Virtual Machine
3 ทำการเลือกการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
ดังรูปที่ 1.38
-
การเลือกแบบ Bridged
Networking จะหมายถึงการที่ Virtual Machine แต่ละเครื่องเสมือนมี
การเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายปกติ โดยมี IP Address ที่สามารถได้รับจากภายนอกโดยตรง)
-
การเลือกแบบ NAT
จะหมายถึงการที่ Virtual Machine จะสื่อสารภายนอกโดยผ่านการทำ
Network Address Translation ซึ่งจะใช้หมายเลข IP
Address ของ ระบบที่ทำงานอยู่ในการทำ NAT
-
การเลือกแบบ Host
Only จะหมายถึง Host และ Virtual Machine จะเสมือนเชื่อมต่อกันบน
Virtual Switch ซึ่งจะมีการแจกหมายเลข IP Address ที่เป็น Private IP ให้กับเครื่อง Virtual Machine ทุกเครื่องผ่านการทำงานของ
DHCP
รูปที่
1.38 หน้าจอการเลือกวิธีการเชื่อมต่อบน
VMWare
4 ทำการกำหนดขนาดของข้อมูล VMware
ดังรูปที่ 1.39 หลังจากนั้นระบบจะทำการจัดเตรียมพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล
Virtual Machine
รูปที่
1.39
หน้าจอการกำหนดขนาดพื้นที่ของข้อมูล Virtual Machine
5 ทำการกำหนดค่าการติดตั้ง โปรแกรม Window
XP โดยดับเบิ้ลคลิ๊กที่ CDROM
Drive ทำการเลือก ดังรูปที่ 1.40
รูปที่
1.40
หน้าจอการกำหนดที่อยู่ของโปรแกรม
·
ในกรณีของ ห้อง LAB
ตำแหน่งระบุที่อยู่อาจไม่ตรงกับรูป
ให้นักศึกษาลองทำการค้นหาจากไดรฟ์ D:
6 เริ่มต้นทำงาน Virtual Machine
โดยเลือกปุ่มเครื่องหมาย Start Virtual Machine ดังรูปที่ 1.41
รูปที่
1.41
หน้าจอทั่วไปเพื่อรอรับคำสั่งการทำงานของ Virtual Machine
7 กำหนดการแบ่งพื้นที่ของ Disk ในการทดลองไม่ต้องแบ่งพื้นที่ ดังรูปที่ 1.42 และเลือกรูปแบบการ
format แบบ NTFS (Quick) สำหรับการทดลองติดตั้งดังรูปที่ 1.43
รูปที่
1.42 หน้าจอการแบ่งพื้นที่ของ Disk
บนระบบปฏิบัติการ Windows
รูปที่
1.43
หน้าจอแสดงทางเลือกการ Format Disk สำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการ
Windows
8 ทำการกำหนดค่าต่างๆ
ของระบบดังต่อไปนี้
·
TimeZone : GMT+7.00 /Bangkok, Hanoi
·
Computer Name: MUT_ID (ID คือ
รหัสนักศึกษา)
·
Workgroup : MSIT-Network
·
การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายใช้การทำงาน
ผ่าน DHCP
(Obtain IP Address Automatically)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น