ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การสร้างและตั้งค่า Scope

การสร้างและตั้งค่า Scope 

            
คือ ช่วงของไอพีแอดเดรสคลเอนใช้งนได้พร้อมด้วยค่าคอนฟิกกูเรชั่นต่างๆ ที่จะถูกจ่ายไปยังไครเอนต์พร้อมกับ IP address ที่สามารถจัดสรรให้ใน server DHCP หนึ่งๆ สามารถให้บริการแก่เน็ตเวิร์กหลายเซกเมนต์หรือซับเน็ตได้ เพียงแต่ต้องแน่ใจว่าเราต้องแนใจว่าเราเตอร์ที่กันระหว่างซับเน็ตเหล่านั้นรองรับทราฟฟิกแบบรอดคาสต์หรือติดตั้งบริการ DHCP Relay Agent (ประยุกต์ใช้ได้กับทุกระบบปฎิบัติการเพียงเรา เข้าใจการทำงานของระบบ ในที่นี้ผมยกตัวอย่างระบบปฎิบัติการ Window server 2003 R2)
การสร้าง Scope หนึ่ง เราจำเป็นต้องเตรียมข้อมูลอะไรบ่างมาดูกันครับ
11.   ช่วงของ IP Address ที่ต้องการจัดสรรให้เครื่องลูกใคลเอนใช้งาน
22.      ซับเน็ตมาสก์
33.      ช่วงไอพีแอดเดรสยกเว้น Exclusions นะครับ ในกรณีนี้ยกเว็นบ่างหมายเลข บ่างช่วง IP Address ไม่ให้ไคลเอนต์ใช้งาน
44.      ช่วงเวลาที่อนุญาติให้ใช้งาน  Lease Duration Interval 

เราสามารถสร้างและตั้งค่าด้วยกระบวนการต่อไปนี้
11.      เปิด DHCP MMC Management  Console
22.      เลือกชื่อเซิร์ฟเวอร์ที่ต้องการ ถ้ามีเครื่องมากกว่า ก็เลือก New Scope
33.      คลิกปุ่ม Next ในหน้า  Welcome to the New scope Wizard ไปยังหน้าต่อไป
44.      ในหน้า Scope Name ให้ใส่ชื่อ Scope ที่ต้องการรวมถังคำอธิบายช่อง Description ตามด้วย Next
55.      ในหน้า IP Address Range คือหน้าต่าง ช่วงของ  IP Address รวมถึง Subnet Mask
66.      ในขั้นตอน  Add Exclusions นี้เราสามรถกำหนดช่วง IP Address
77.      ในหน้าจอ Lease  Duration เป็นการกำหนดระยะที่ยอมให้ไคลเอนต์ใช้งาน IP Address โดยการกำหนดจำนวนวัน   ( กำหนด ประมาณ 8 วัน )
88.      หน้า configure DHCP Options เราสามารถ  จบ   การ config  Scope ได้ในขั้นตอนนี้โดยเลือก No I will configure these options later  หรือจะตั้งค่าด้วย Yes I want to configure these options now
99.      ในหน้า Router Default Gateway จะเป็น DHCP จะกำหนดเป็น  Default
110. ในหน้าจอ   Domain Name and DNS servers ขั้นตอนการแปลงข้อมูล จากชื่อเป็น หมายเลข ไอพี




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Technology)   ประวัติความเป็นมา               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN)  ระบบเครือข่ายไร้สาย  (Wireless LANs)  เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ.  1971 บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า  “ALOHNET”  ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional  ส่งไป-กลับง่ายๆ ผ่านคลื่นวิทยุ สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์  7  เครื่อง ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะ  4  เกาะโดยรอบ และ มีศูนย์กลางการเชื่อมต่ออยู่ที่เกาะๆหนึ่ง ที่ชื่อว่า  Oahu ความหมาย               ระบบเครือข่ายไร้สาย ( WLAN = Wireless Local Area Network)  คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ  RF  และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ ,  ทะลุกำแพง ,  เพดานหร...

Linux Fedora Core 8 (VMware)

การทดลองครั้งที่ 1 การติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการลงบน VMWare พื้นฐาน โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่จำลองสภาพแวดล้อมของ เครื่องคอมพิวเตอร์  บนระบบปฏิบัติการหนึ่งๆ ซึ่งจะทำให้ดูเสมือนมี เครื่องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่อง ทำงานอยู่พร้อมกัน สภาพแวดล้อมที่ใช้ในการทดลอง โปรแกรม VMWare ที่ใช้ในการทดลองจะเป็นรุ่น VMServer 1.05 โดยการทดลองจะทำการติดตั้งระบบปฏิบัติการต่างๆดังต่อไปนี้                 1 Linux Fedora Core 8 (Machine 1)                 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Linux Fedora Core 8 1 ทำการ ดับเบิ้ลคลิกที่ ไอคอนของ VMWare Server Console จากนั้นทำการเลือก Local Host  ดังรูปที่ 1.1 รูปที่ 1.1 หน้าจอการเลือกการใช้งาน VMware บนเครื่อง 2 ในกรณีที่เป็นการติดตั้งใหม่ให้ เลือกไอคอน New Virtual Machine  (ส่วนในกรณีที่มีการติดตั้งอยู่ก่อนแล้ว เลือกไอคอน Open Existing Virtual Machine ) หลังจากนั้นจะปรากฏ New ...

การ Config card Lan ใน Server Ubuntu

ให้ใส่รหัสผ่านของเราลงไป ระบบจะให้เราสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root ใหม่ รหัสผ่านของยูสเซอร์ root อีกครั้ง การสร้างรหัสผ่านของยูสเซอร์ root สำเร็จแล้ว พิมพ์คำสั่ง su กด Enter เพื่อขอใช้งานยูสเซอร์ root ใส่รหัสผ่านของยูสเซอร์ root ถ้าล็อกออนยูสเซอร์ root ตรง noom@server: ก็จะเปลี่ยนเป็น root@server:  พิมพ์คำสั่ง ifconfig เพื่อดูไอพี ของเครื่องเราแล้วดูบรรทัดที่สองตรง inet addr: ตามรูปไอพีคือ 192.168.1.42 ได้มาจากเครื่อง dhcp การเซตไอพีเองให้เป็น static IP พิมพ์คำสั่ง vi /etc/network/interfaces กด Enter กดคีย์อักษร  เพื่อเข้าสู่โหมดพิมพ์ข้อความ > เปลี่ยนจาก iface eth0 inet dhcp เป็น iface eth0 inet static แล้วพิมพ์คำสั่งเพิ่ม ตามรูปเลย แล้วทำการบันทึกด้วยการกด <Esc> แล้วตามด้วย <:><w><q> กด Enter จากนั้นรีสตาร์ตเซอร์วิสด้วยคำสั่ง /etc/init.d/networking restart กด Enter แล้วตรวจดูว่า IP Address เปลี่ยนแปลงหรือยัง ด้วยคำสั่ง ifconfig ก็จะได้ไอพีตามที่เราเซตก็คือ 192.168.1.20 เสร็จการติดตั้ง Ubuntu Linux Server