ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2013

คำสั่งพื้นฐาน Ubuntu ตอนที่ 3 (ต่อ) ตัวอย่างการใช้งาน

ตัวอย่างการใช้งาน 1.1 คำสั่ง ls : ใช้แสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมดใน home directory -------------------------------------------------------------------------------- ทุกท่านที่มี account ใน linux จะมี home directory ของตนเอง เพื่อใช้เก็บแฟ้มต่าง ๆ ภายใต้ระบบ linux เมื่อต้องการทราบว่ามีแฟ้มอะไรที่เก็บไว้บ้าง สามารถใช้คำสั่ง ls ได้ และสามารถกำหนด parameter ได้หลายตัว เช่น -al --sort เป็นต้น ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งาน ls -alt :: เพื่อแสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมด และจัดเรียงตามเวลา ให้ลองลบอักษรออกทีละตัวจาก alt ดูนะครับ ls -alt | more :: เพื่อแสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมด แต่หยุดทีละหน้า เมื่อมีจำนวนแฟ้มเกินที่จะแสดงได้ ใน 1 หน้า ls -al --sort=time | more :: แสดงรายชื่อแฟ้มเรียงตามเวลา แยกทีละหน้า โดยละเอียด ls -R | more :: แสดงรายชื่อในทุก directory ในห้องปัจจุบัน ถ้าสังเกตนะครับ แฟ้มที่มี . หน้าชื่อแฟ้ม จะหมายถึงแฟ้มที่ซ่อนไว้ ถ้าใช้คำสั่ง ls หรือ ls -l จะไม่เห็นแฟ้มเหล่านี้ ถ้ามีอักษร D ที่ Column แรก ในตอนแสดงชื่อแฟ้ม ด้วยคำสั่ง ls -al ก็จะหมายถึง directory ไม่ใช่แฟ้มธรรมดา -------...

คำสั่งพื้นฐาน Ubuntu ตอนที่ 3

File/Directory Basics ls List files แสดงรายชื่อไฟล์และไดเร็คทอรี่ cp Copy files สำเนาไฟล์ mv Rename files เปลี่ยนชื่อไฟล์ rm Delete files ลบไฟล์ ln Link files สร้างไฟล์เชื่อมโยง cd Change directory ย้ายไปยังไดเร็คทอรี่ที่ต้องการ pwd Print current directory name แสดงชื่อไดเร็คทอรี่ปัจจุบัน mkdir Create directory สร้างไดเร็คทอรี่ใหม่ rmdir Delete directory ลบไดเร็คทอรี่ (ที่ว่างเปล่าเท่านั้น) File Viewing cat View files ดูเนื้อหาของ text file less Page trough files เลื่อนดูเนื้อหาของไฟล์ head View file beginning แสดงส่วนต้นของไฟล์ tail View files ending แสดงส่วนท้ายของไฟล์ nl Number lines แสดงหมายเลขบรรทัด od View binary files แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่ xxd View binary files แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่ gv View Postscript/PDF files แสดงไฟล์แบบโพสต์สคริปต์หรือ PDF xdvi View TeX DVI files แสดงไฟล์รูปแบบ TeX File Creation and Editing emacs Text editor โปรแกรมแก้ไขข้อความของ GNU vim Text editor โปรแกรมแก้ไขข้อความที่ปรับปรุงจ...

วิธีทำเสาขยายสัญญาณ WiFi แบบรอบทิศทาง Omni Antenna ตอนที่ 1

Easy Homemade 2.4 Ghz Omni Antenna ขั้นตอนง่ายๆ ที่จะสร้างเสา  wireless  หรือเสา  omni  ในราคาไม่แพง  ดังที่เห็นมีขายกันทั่วไปใน ท้องตลาด  ใช้ประโยชนย์ จากวัสดุและเครื่องมือที่หาได้ทั่วไปกับความรู้ที่ไม่มากนัก    พูดภาษาที่ยาก อีกหน่อยก็ คือ ทําเสา  omni directional colinear dipole ที่เหมาะสําหรับ wifi 802.11 แบบที่พบเห็ นมากมายในเว็บ สําหรับสาย  2.4 GHz omni antenna  จะเป็นการใช้สายทองเหลือง และสายชนิด  lmr-400  ซึ่งเราจะไม้นํามาใช้กับบทความนี้ นะครับ ที่จะใช้คือสาย  coax  โดยจะใช้ ชนิด RG-213 โดยสัดส่วนของความถี่  444MHz จะใช้ได้กั บ 2.4 GHz และเพื่อที่จะให้เพิ่มถึง  6 dB จึงต้องใช้ทั้งหมด 8 ท้อน และส่วนปลายด้านบนมีความยาวเท่ากับ 1/4 ของความยาวคลื่น ต่อด้วย หัว fly-lead  และ N-connector  ที่ปลายด่านล่าง  คนที่เคยทํามาแล้วใช้ เวลาประมาณ  2-3  ชั่วโมง ในการทํานะครับ อาจจะนานกว่านั้นในการทําครั้งแรกนะครับ ติดตามต่อ  ตอนที่ 2 นะครับ  เป็นขั้นตอนก...